กระดาษกันสนิมคือ กระดาษที่มีสารป้องกันการเกิดสนิมบนผิวโลหะ (Volatile Corrosion Inhibitor หรือ VCI) เคลือบไว้ในเนื้อกระดาษ เพื่อใช้ในการห่อหุ้มชิ้นส่วนโลหะที่ต้องการป้องกันการกัดกร่อน สาร VCI จะระเหยออกมาจากเนื้อกระดาษและเคลือบผิวโลหะเป็นชั้นบางๆ ทำให้ความชื้นและอากาศไม่สามารถสัมผัสกับผิวโลหะได้ จึงไม่เกิดการออกซิเดชันหรือสนิม
Continue reading GreenVCI : กระดาษกันสนิมสำหรับวางรองชิ้นส่วนโลหะAuthor: Mr.VCi
GreenVCI : เคล็ดลับ!!วิธีการป้องกันการเกิดสนิมสำหรับเครื่องดนตรี
เครื่องดนตรีต่างๆนะคะ มักจะมีส่วนประกอบที่ทำจากโลหะ และพบว่าชิ้นส่วนอะไหล่เหล่านี้มักจะเกิดจุดภาพดำที่เป็นสนิมขึ้นได้ง่าย
แม้ว่าเราจะเก็บเครื่องดนตรีเหล่านั้นไว้ในกล่องหรือตู้ที่มีมิดชิดหรือจะใส่ดูดความชื้นแล้วก็ตาม แต่ก็ยังพบว่ามันยังสนิทอยู่ ทีนี้เรามาดูกันค่ะว่าจะมีวิธีไหนบ้างนะคะ ที่จะช่วยให้เรารักษาอุปกรณ์เครื่องดนตรีของเราให้มีอายุการใช้งานมากขึ้นค่ะ
Continue reading GreenVCI : เคล็ดลับ!!วิธีการป้องกันการเกิดสนิมสำหรับเครื่องดนตรีGreenVCI : ถุงมุ้งพลาสติกกันสนิมแบบรองก้นกล่อง
ถุงพลาสติกันสนิม คือ ถุงพลาสติกที่ผลิตจากเม็ดพลาสติกกันสนิมนำเข้าจากต่างประเทศ โดยในถุงพลาสติกจะมีการผสมสารที่เรียกว่า สาร VCI โดยโมเลกุลของสาร VCI
จะมีไอระเหยออกมาจากตัวถุงพลาสติกทำหน้าที่เหมือนเป็นชั้นฟิล์มเคลือบไว้ช่วยป้องกันความชื้นออกซิเจนทำปฏิกิริยากับผิวโลหะหรือต้นเหตุของการเกิดสนิมแดงเหล็ก คาบสนิมเขียว ทองแดง หรือ คาบเกลือต่างๆ
ส่วนการใช้งานถุงพลาสติกกันสนิม หลังจากที่ทำความสะอาดอุปกรณ์โลหะ ให้ปราศจากสาเหตุหรือบ่อเกิดสนิม จากนั้นนำอุปกรณ์โลหะ ใส่ลงไปในถุงพลาสติกกันสนิม และทำการปิดปากถุงให้สนิท อาจจะปิดด้วยสก็อตเทปใส หรือ พับแล้วใช้น้ำหนักอุปกรณ์โลหะทับลงไปได้ค่ะ เพียงเท่านี้อุปกรณ์โลหะของลูกค้า ก็จะปลอดภัย ห่างไกลสนิมแล้วค่ะ
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
บริษัท กรีนวีซีไอ (ประเทศไทย)จำกัด
คุณเจษฎา (เจษ)
Mobile: 081-042-4988
LINE ID: @greenvci (มี @ ด้วยนะครับ)
Email: sales@greenvci.co.th
GreenVCI : VCI DESICCANT X VCI BAG
ตัวช่วยเสริมความเข้มข้นสารกันสนิม เป็นสารป้องกันสนิมและดูดความชื้นในซองเดียวกัน หรือจะเรียกว่ามีคุณสมบัติแบบ 2 in 1 ก็ได้ค่ะ
โดยในหนึ่งซองจะประกอบด้วยสารกันสนิมและสารดูดความชื้นประเภทดินดูด (Activated Clay)
VCI DESICCANT ช่วยสร้างชั้นฟิล์มป้องกันอีกชั้นในสภาพแวดล้อมที่โลหะต้องเผชิญกับความชื้น หรือองค์ประกอบที่มีฤทธิ์กัดกร่อน เมื่อใช้พลาสติกกันสนิมเพื่อบรรจุสิ่งของที่เป็นของแข็งขนาดใหญ่ พื้นผิวของชิ้นงานที่ไม่ซับซ้อน อาจจะไม่จำเป็นต้องใช้สารกันสนิมเพิ่มเติม
Continue reading GreenVCI : VCI DESICCANT X VCI BAGGreenVCI : ระวังภัยจากกระดาษลูกฟูก : เคล็ดลับป้องกันสนิม#VCI CHIP
คุณปล่อยให้ขึ้นส่วนที่ไม่ได้รับการป้องกันสัมผัสกับุตัวกล่องกระดาษลูกฟูกหรือไม่?
กระดาษลูกฟูกก็มีโอกาสที่จะเป็นต้นตอของการผุกร่อนได้
ในตอนที่กล่องกระดาษได้ถูกผลิตขึ้นนั้น ตัวกระดาษจะเป็นเยื่อไม้และจะถูกละลายโดยใช้กรดไนตริค เพื่อที่จะลดค่าความเป็นกรดให้เป็นกลางก่อนที่จะนำเนื้อไม้มาทำเป็นกระดาษเยื่อไม้จะต้องผ่านชุดขั้นตอนการล้างหลายๆครั้ง และแม้ว่าจะผ่านกระบวนการชำระล้างแล้ว แต่กรดที่ตกค้างอยู่บนกระดาษลังนั้นก็ยังพบเห็นได้ทั่วไป
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
บริษัท กรีนวีซีไอ (ประเทศไทย)จำกัด
คุณเจษฎา (เจษ)
Mobile: 081-042-4988
LINE ID: @greenvci (มี @ ด้วยนะครับ)
Email: sales@greenvci.co.th
ร่วมไว้อาลัยแก่ครอบครัวผู้เสียชีวิต จากเหตุการณ์ไฟไหม้รถบัสทัศนศึกษา

บริษัท กรีนวีซีไอ(ประเทศไทย) จำกัด ขอแสดงความเสียใจอย่างที่สุด
และร่วมไว้อาลัยแก่ครอบครัวผู้เสียชีวิต และผู้ที่ได้รับบาดเจ็บทุกท่าน จากเหตุการณ์ไฟไหม้รถบัสทัศนศึกษา
#ไฟไหม้รถบัส #RIP
GreenVCI : การวางแผนกลยุทธ์การป้องกันการกัดกร่อน

การวางแผนกลยุทธ์ในการป้องกันการกัดกร่อนมีความสำคัญอย่างยิ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพของมาตรการป้องกัน
Continue reading GreenVCI : การวางแผนกลยุทธ์การป้องกันการกัดกร่อนGreenVCI : ถุงพลาสติกกันสนิมแบบรองก้นกล่อง
ถุงพลาสติกันสนิม คือ ถุงพลาสติกที่ผลิตจากเม็ดพลาสติกกันสนิมนำเข้าจากต่างประเทศ โดยในถุงพลาสติกจะมีการผสมสารที่เรียกว่า สาร VCI โดยโมเลกุลของสาร VCI
จะมีไอระเหยออกมาจากตัวถุงพลาสติกทำหน้าที่เหมือนเป็นชั้นฟิล์มเคลือบไว้ช่วยป้องกันความชื้นออกซิเจนทำปฏิกิริยากับผิวโลหะหรือต้นเหตุของการเกิดสนิมแดงเหล็ก คาบสนิมเขียว ทองแดง หรือ คาบเกลือต่างๆ
Closed for Mother’s Day, August 10-12.

Closed for Mother’s Day, August 10-12.
Cherishing family time. We’ll be back to serve you on August 13.
Happy Mother’s Day!”
GreenVCI : ตารางอนุกรมกัลวานิก (Galvanic Series)

อนุกรมกัลวานิกจัดอันดับโลหะและโลหะผสมตามศักย์ไฟฟ้าของมันในน้ำทะเลหรือสภาพแวดล้อมที่มีการกัดกร่อนอื่นๆ การจัดอันดับนี้จะกำหนดว่าโลหะใดมีแนวโน้มที่จะเกิดการกัดกร่อนมากกว่าเมื่อสัมผัสกันทางไฟฟ้า
โดยการเข้าใจอนุกรมนี้ วิศวกรและนักออกแบบสามารถเลือกวัสดุที่มีแนวโน้มที่จะเกิดการกัดกร่อนกัลวานิกน้อยกว่าเมื่อใช้งานร่วมกันในโครงสร้างหรือเครื่องจักร
ความรู้นี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการป้องกันสนิมและการกัดกร่อนในงานอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อให้มั่นใจถึงความทนทานและความน่าเชื่อถือของส่วนประกอบโลหะที่สัมผัสกับสภาพแวดล้อมที่รุนแรง
ภาพประกอบ
• ด้านซ้าย (Active): โลหะที่เกิดการกัดกร่อนได้ง่าย เช่น แมกนีเซียม (Mg), สังกะสี (Zinc), เหล็กชุบสังกะสี (Galvanized Steel)
• ด้านขวา (Passive): โลหะที่เกิดการกัดกร่อนได้ยาก เช่น ทองคำ (Gold), เงิน (Silver), แพลทินัม (Platinum)
อ้างอิงข้อมูล https://greenvci.com/41_en/103
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
บริษัท กรีนวีซีไอ (ประเทศไทย)จำกัด
คุณเจษฎา (เจษ)
Mobile: 081-042-4988
LINE ID: @greenvci (มี @ ด้วยครับ)